Friday, October 30, 2009
Thursday, October 29, 2009
ปัจจัยลบต่างๆ ที่เข้ามากระทบตลาด ในช่วงนี้
ปัจจัยลบที่เข้ามากระทบตลาด
1. ตลาดต่างประเทศ
1.1 SET ยังคงเคลื่อนไหวภาตใต้เทรนด์ตลาดโลก
ซึ่งหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ที่จะกลับ เป็นแนวโน้มลง
หากตลาดโลกเป็นเทรนด์ลง ภาพรวม ตลาดDJ
ยุโรป เอเซีย หลุดแนวรับ10/25วัน ลงมาเรียบร้อย
cfm สัญญานขาย และการเข้าสู่แนวโน้มลงในระยะสั้นๆ
1.2 ประเด็นความกังวลหลักๆ อยู่ที่กังวลการยกเลิก
มาตรการกระตุ้นศก. ซึ่งล่าสุดอินเดียได้ประกาศยกเลิกไปแล้ว
- ญี่ปุ่นหจะมีแถลงการณ์ความชัดเจนอีกครั้งในวันพรุ่งนี้
นอกจากนั้น ยังมีกระแสความกังวล เรื่องแนวโน้มดอกเบี้ย
อาจมีการปรับตัวขึ้น
1.3 ค่าเงินดอลล่าร์แข็งค่า ซึ่งส่งผลลบต่อบรรดาสินค้าโภคภัณฑ์
รวมถึง อาจเกิดการเคลื่อนย้าย เม็ดเงินออกจากตลาดทุน
1.4 ตลาดรับรู้ข่าวดี เรื่องจีดีพีของแต่ละประเทศ ที่ปรับขึ้นไปแล้ว
รวมถึงราคาหุ้น รับข่าวผลประกอบการ ที่ฟื้นตัวไปแล้ว จึงเกิด
อาการsell on fact
1.5 ประเด็น ยอดขายบ้านสหรัฐที่ร่วงเกินคาด และปัญหา
การติดจำนองบ้านเริ่มลุกลาม เริ่มเป็นปัจจัยลบใหม่ ที่เข้ามา
ในตลาดหุ้นสหรัฐ
2. ในประเทศ
2.1ประเด็นการเมือง หลังจากข่าวลือคลี่คลาย ความกังวล
ประเด็นการเมืองยังไม่หมดไป เริ่มมีกระแสการยุบสภา
เข้ามาบ้างประปราย จากการขัดแย้งในพรรคปชป.
และพรรคร่วมรัฐบาล
2.2ปัญหามาบตะพุด ยังเป็นแรงกดดัน ให้เกิดแรงขาย
ในหุ้นพลังงาน นอกเหนือจากราคาน้ำมัน ที่อ่อนตัวลง
ตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์
2.3 ราคาหุ้นหลัก ได้ขึ้นมารับประมาณการกำไร ที่ฟื้นตัวแล้ว
สังเกตุหุ้น ที่ประกาศกำไรออกมาดี ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มแบงค์
หรือปูนใหญ่ ราคาหุ้นไม่ได้ขึ้นต่อ หลังข่าวดีออก อาจมีบางตัว
ที่ไปได้ แต่ต้องเป็นลักษณะ เซอร์ไพร์สตลาดเช่น DCC
2.4 ฝร่งเล่นทางขาย ส่วนหนึ่งอาจมาจากประเด็นโดนDSI
สอบเรื่องข่าวลือ - กองทุน เริ่มกลับมาเล่นฝั่งขาย - รายใหญ่
คาดว่า จะเล่นฝั่งขาย เหมือนกัน หลังบางราย ก้อโดน
DSI สอบด้วย
1. ตลาดต่างประเทศ
1.1 SET ยังคงเคลื่อนไหวภาตใต้เทรนด์ตลาดโลก
ซึ่งหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ที่จะกลับ เป็นแนวโน้มลง
หากตลาดโลกเป็นเทรนด์ลง ภาพรวม ตลาดDJ
ยุโรป เอเซีย หลุดแนวรับ10/25วัน ลงมาเรียบร้อย
cfm สัญญานขาย และการเข้าสู่แนวโน้มลงในระยะสั้นๆ
1.2 ประเด็นความกังวลหลักๆ อยู่ที่กังวลการยกเลิก
มาตรการกระตุ้นศก. ซึ่งล่าสุดอินเดียได้ประกาศยกเลิกไปแล้ว
- ญี่ปุ่นหจะมีแถลงการณ์ความชัดเจนอีกครั้งในวันพรุ่งนี้
นอกจากนั้น ยังมีกระแสความกังวล เรื่องแนวโน้มดอกเบี้ย
อาจมีการปรับตัวขึ้น
1.3 ค่าเงินดอลล่าร์แข็งค่า ซึ่งส่งผลลบต่อบรรดาสินค้าโภคภัณฑ์
รวมถึง อาจเกิดการเคลื่อนย้าย เม็ดเงินออกจากตลาดทุน
1.4 ตลาดรับรู้ข่าวดี เรื่องจีดีพีของแต่ละประเทศ ที่ปรับขึ้นไปแล้ว
รวมถึงราคาหุ้น รับข่าวผลประกอบการ ที่ฟื้นตัวไปแล้ว จึงเกิด
อาการsell on fact
1.5 ประเด็น ยอดขายบ้านสหรัฐที่ร่วงเกินคาด และปัญหา
การติดจำนองบ้านเริ่มลุกลาม เริ่มเป็นปัจจัยลบใหม่ ที่เข้ามา
ในตลาดหุ้นสหรัฐ
2. ในประเทศ
2.1ประเด็นการเมือง หลังจากข่าวลือคลี่คลาย ความกังวล
ประเด็นการเมืองยังไม่หมดไป เริ่มมีกระแสการยุบสภา
เข้ามาบ้างประปราย จากการขัดแย้งในพรรคปชป.
และพรรคร่วมรัฐบาล
2.2ปัญหามาบตะพุด ยังเป็นแรงกดดัน ให้เกิดแรงขาย
ในหุ้นพลังงาน นอกเหนือจากราคาน้ำมัน ที่อ่อนตัวลง
ตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์
2.3 ราคาหุ้นหลัก ได้ขึ้นมารับประมาณการกำไร ที่ฟื้นตัวแล้ว
สังเกตุหุ้น ที่ประกาศกำไรออกมาดี ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มแบงค์
หรือปูนใหญ่ ราคาหุ้นไม่ได้ขึ้นต่อ หลังข่าวดีออก อาจมีบางตัว
ที่ไปได้ แต่ต้องเป็นลักษณะ เซอร์ไพร์สตลาดเช่น DCC
2.4 ฝร่งเล่นทางขาย ส่วนหนึ่งอาจมาจากประเด็นโดนDSI
สอบเรื่องข่าวลือ - กองทุน เริ่มกลับมาเล่นฝั่งขาย - รายใหญ่
คาดว่า จะเล่นฝั่งขาย เหมือนกัน หลังบางราย ก้อโดน
DSI สอบด้วย
BOT revised GDP up to a contraction of 2.5-3.5% in 2009, and an expansion of 3.3- 5.3% in 2010
Bank of Thailand has revised GDP forecast up
on the back of improved global economy, and
big government spending.
GDP 2009 is revised up to a contraction of 2.5-3.5%
from a contraction of 3.0-4.5%
GDP 2010 is revised up to a growth of 3.3-5.3%
from a growth of 3.0-5.0%
Bank of Thailand also expects a 3Q09 GDP will
register a contraction of 3.0-3.5% year-year,
but will grow 2.1-2.6% quarter-quarter.
Strategy: Although our positive view on the
market over the next 3-6 months from now
is reiterated, risk of short-term correction
to 660-680 point is maintained. Our stock
weighting recommendation remains at 60%
of the portfolio.
As the market has already downed more than 2%
today, any short-term bounce is likely before
the market close or will continue tomorrow. However,
only trading is recommended at this juncture.
Best regards,
Adisak Phupiphathirungul, CFA
Equity Strategist, Research Department
Ayudhya Securities Plc.
Tel +66 2659 7000 Ext 5005
on the back of improved global economy, and
big government spending.
GDP 2009 is revised up to a contraction of 2.5-3.5%
from a contraction of 3.0-4.5%
GDP 2010 is revised up to a growth of 3.3-5.3%
from a growth of 3.0-5.0%
Bank of Thailand also expects a 3Q09 GDP will
register a contraction of 3.0-3.5% year-year,
but will grow 2.1-2.6% quarter-quarter.
Strategy: Although our positive view on the
market over the next 3-6 months from now
is reiterated, risk of short-term correction
to 660-680 point is maintained. Our stock
weighting recommendation remains at 60%
of the portfolio.
As the market has already downed more than 2%
today, any short-term bounce is likely before
the market close or will continue tomorrow. However,
only trading is recommended at this juncture.
Best regards,
Adisak Phupiphathirungul, CFA
Equity Strategist, Research Department
Ayudhya Securities Plc.
Tel +66 2659 7000 Ext 5005
Monday, October 26, 2009
Thursday, October 22, 2009
วันที่จะประกาศ ผลประกอบการ 3Q09 ของบริษัทต่างๆ ที่น่าสนใจ
27-Oct PTTEP, TPC
28-Oct SCC, DTAC
29-Oct SSI
6-Nov ADVANC
9-Nov QH
10-Nov TOP, PTTCH, PTTAR, EGCO, SIRI, SPALI, CPF
12-Nov PTT, AP, DELTA
28-Oct SCC, DTAC
29-Oct SSI
6-Nov ADVANC
9-Nov QH
10-Nov TOP, PTTCH, PTTAR, EGCO, SIRI, SPALI, CPF
12-Nov PTT, AP, DELTA
Mr.Soros and his Reflexivity
Mr.Soros and his Reflexivity
จอร์จ โซรอส มีแนวคิดว่า ตลาดหุ้นทำงานอย่างไร
ที่ค่อนข้างแตกต่างจากคนอื่น เขาเรียกโมเดลของเขา
ว่า Reflexivity…
โซรอสมองว่า ในตลาดหุ้น จะมีความลำเอียงหลัก
ของตลาดอยู่เสมอ นักลงทุนแต่ละคน ต่างมีความลำเอียง
เป็นของตัวเอง ซึ่งแรงซื้อแรงขาย จะทำให้ความลำเอียง
เหล่านั้นหักล้างกันไปส่วนหนึ่ง แต่ไม่ว่าจะหักล้างกันยังไง
ก็จะยังเหลือความลำเอียงส่วนหนึ่ง ที่หักล้างไม่หมด
และกลายเป็นความลำเอียงหลัก ที่ครอบงำทั้งตลาด
ในขณะนั้นๆ อยู่ ความลำเอียงหลัก ทำให้ตลาด
ไม่เคยอยู่ที่จุดสมดุล มีแต่มากไปกับน้อยไป ราคาหุ้น
จะเคลื่อนตัว ไปตามแนวโน้มที่แท้จริง ของมัน
ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยพื้นฐาน บวกด้วยความลำเอียงหลัก
ที่ทำให้ราคาหุ้น ขึ้นหรือลง มาก หรือน้อยกว่า
ที่ควรจะเป็นตามปัจจัยพื้นฐาน
แต่แค่นั้นยังไม่พอ การเปลี่ยนแปลงของราคาหุ้น
ที่เกิดขึ้น จะย้อนกลับมา มีอิทธิพล กับแนวโน้ม
ที่แท้จริงและความลำเอียงหลักอีกที ทำให้ความสัมพันธ์
ระหว่างแนวโน้มที่แท้จริงกับ ความลำเอียงหลัก
ที่มีต่อราคาหุ้น ไม่ใช่ความสัมพันธ์แบบทางเดียว
แต่เป็นความสัมพันธ์แบบสองทิศทาง พูดง่ายๆ ก็คือ
ยิ่งราคาหุ้นขึ้น ความลำเอียงของตลาดว่าหุ้นขึ้น
จะยิ่งมากขึ้น และทำให้ราคาหุ้นยิ่งขึ้นต่อไปอีก
การที่มุมมองของนักลงทุน ส่งผลต่อราคาหุ้นแล้ว
ทำให้ราคาหุ้น กลับมาส่งผล ต่อมุมมองของนักลงทุนอีกที
นี้เองที่โซรอสเรียกว่า Reflexivity ในตลาดหุ้น
ปฏิสัมพันธ์แบบสองทางนี้ ทำให้การทำนายราคาหุ้น
เป็นเรื่องที่ทำได้ยากมาก
ถ้าเรามีสมมติฐาน เกี่ยวกับกลไกในตลาดหุ้นว่าเป็นแบบนี้
เมื่อใดที่มุมมองของนักลงทุน กับการเปลี่ยนแปลงของราคาหุ้น
มีลักษณะส่งเสริมกันเอง เมื่อนั้นราคาหุ้น จะวิ่งออก
จากปัจจัยพื้นฐานออกไปเรื่อยๆ ทำให้เกิดฟองสบู่
และจะเป็นเช่นนั้นอยู่ จนกว่าพวกมันจะขัดขากันเอง ซึ่งจะทำ
ให้เกิด market correction ขึ้น ตลาดหุ้นจึงมีแนวโน้มที่จะมี
boom และ burst อยู่ร่ำไป แทนที่จะพยายามวิ่งเข้าสู่
จุดสมดุลเองตลอดเวลา เหมือนอย่างที่ทฤษฏีทางการเงินบอกไว้
และกลยุทธ์ของโซรอส ก็คือการพยายามทำกำไรจาก
boom และ burst เหล่านี้
โซรอสบอกว่าพวก neoclassical คิดถูกที่เชื่อว่า
ตลาดเสรีดีที่สุด แต่ผิดตรงที่เชื่อว่า ตลาดเสรีมีเสถียรภาพ
ส่วนพวก keynesians นั้นผิดตรงที่เชื่อว่า การแทรกแซง
โดยรัฐฯ จะช่วยสร้างเสถียรภาพได้ โซรอสเชื่อว่า
นั่นจะยิ่งทำให้สถานการณ์เลวร้ายลง ตลาด unstable อยู่แล้ว
โดยธรรมชาติและไม่มีอะไรที่จะเปลี่ยนมันได้
แนวคิดที่สำคัญมากของ Reflexivity คือ ราคาหุ้น
ส่งอิทธิพลต่อปัจจัยพื้นฐานได้ด้วย ไม่ใช่ปัจจัยพื้นฐาน
ส่งผลต่อราคาหุ้นอย่างเดียว เช่น บริษัทที่ใช้ M&A
เป็นกลยุทธ์ในการเติบโต ถ้าราคาหุ้นของบริษัทสูงลิ่ว
บริษัทย่อมสามารถระดมทุนได้ในราคาต่ำ ทำให้มีเงินต้นทุนต่ำ
มาซื้อกิจการ ซึ่งจะยิ่งทำให้กำไรเติบโตได้ง่ายขึ้น
หรือในช่วงเวลาที่ตลาดอสังหาตกต่ำ ถ้าอยู่ดีๆ
ตลาดหุ้นขึ้นแรง เนื่องจากตลาดเก็งล่วงหน้าว่า
อสังหากำลังจะฟื้น ทั้งที่ยังไม่มีสัญญาณใดๆ เลย
ที่ทำให้เชื่อได้ว่าอสังหากำลังจะฟื้น แต่ถ้าตลาดหุ้นยังขึ้น
ต่อไปเรื่อยๆ ความมั่งคั่งของคนในตลาดย่อมเพิ่มขึ้น
ที่สุดแล้ว ก็จะทำให้มีคนมีสภาพคล่อง มาช้อนซื้ออสังหาราคาถูก
ทำให้ตลาดอสังหาฟื้นได้จริง เป็นต้น
โซรอสเป็นนักเก็งกำไร ประเภท Global Macro
เขาเชื่อว่า การเข้าใจปัจจัยพื้นฐานนั้น เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้
แต่ว่ายังไม่เพียงพอ การมองตลาดแบบ Reflexivity
คือสิ่งที่มาช่วยเติมเต็ม การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน
ในส่วนที่ยังบกพร่องอยู่ เพราะนักลงทุนไม่มีวันเข้าใจ
ปัจจัยพื้นฐานได้ครบถ้วน จึงจำเป็นต้องอาศัยการสังเกต
จากตลาดในส่วนที่เรายังไม่รู้ด้วย แต่เดิมโซรอสอาศัย
ปัจจัยพื้นฐานและ Reflexivity ในการทำกำไรจากหุ้นเป็นรายตัว
แต่ต่อมาเขาก็เริ่มหันมาหากำไรจากการมองทั้งตลาดแทน
เพราะเขามองว่า ตัวเขาเอง มีความสามารถจำกัด
ในการทำความเข้าใจ อุตสาหกรรม หลายอุตสาหกรรมให้ได้
แบบลึกซึ้งอยู่ ในขณะที่เขา สามารถทำความเข้าใจ
กับระบบเศรษฐกิจและการเงินได้ดีมากกว่า และนั่นก็ได้ทำให้
เขาค้นพบแนวทางที่เขามีพรสวรรค์อย่างยิ่งในที่สุด
Mr.Soros and his Reflexivity
นรินทร์ โอฬารกิจอนันต์
จอร์จ โซรอส มีแนวคิดว่า ตลาดหุ้นทำงานอย่างไร
ที่ค่อนข้างแตกต่างจากคนอื่น เขาเรียกโมเดลของเขา
ว่า Reflexivity…
โซรอสมองว่า ในตลาดหุ้น จะมีความลำเอียงหลัก
ของตลาดอยู่เสมอ นักลงทุนแต่ละคน ต่างมีความลำเอียง
เป็นของตัวเอง ซึ่งแรงซื้อแรงขาย จะทำให้ความลำเอียง
เหล่านั้นหักล้างกันไปส่วนหนึ่ง แต่ไม่ว่าจะหักล้างกันยังไง
ก็จะยังเหลือความลำเอียงส่วนหนึ่ง ที่หักล้างไม่หมด
และกลายเป็นความลำเอียงหลัก ที่ครอบงำทั้งตลาด
ในขณะนั้นๆ อยู่ ความลำเอียงหลัก ทำให้ตลาด
ไม่เคยอยู่ที่จุดสมดุล มีแต่มากไปกับน้อยไป ราคาหุ้น
จะเคลื่อนตัว ไปตามแนวโน้มที่แท้จริง ของมัน
ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยพื้นฐาน บวกด้วยความลำเอียงหลัก
ที่ทำให้ราคาหุ้น ขึ้นหรือลง มาก หรือน้อยกว่า
ที่ควรจะเป็นตามปัจจัยพื้นฐาน
แต่แค่นั้นยังไม่พอ การเปลี่ยนแปลงของราคาหุ้น
ที่เกิดขึ้น จะย้อนกลับมา มีอิทธิพล กับแนวโน้ม
ที่แท้จริงและความลำเอียงหลักอีกที ทำให้ความสัมพันธ์
ระหว่างแนวโน้มที่แท้จริงกับ ความลำเอียงหลัก
ที่มีต่อราคาหุ้น ไม่ใช่ความสัมพันธ์แบบทางเดียว
แต่เป็นความสัมพันธ์แบบสองทิศทาง พูดง่ายๆ ก็คือ
ยิ่งราคาหุ้นขึ้น ความลำเอียงของตลาดว่าหุ้นขึ้น
จะยิ่งมากขึ้น และทำให้ราคาหุ้นยิ่งขึ้นต่อไปอีก
การที่มุมมองของนักลงทุน ส่งผลต่อราคาหุ้นแล้ว
ทำให้ราคาหุ้น กลับมาส่งผล ต่อมุมมองของนักลงทุนอีกที
นี้เองที่โซรอสเรียกว่า Reflexivity ในตลาดหุ้น
ปฏิสัมพันธ์แบบสองทางนี้ ทำให้การทำนายราคาหุ้น
เป็นเรื่องที่ทำได้ยากมาก
ถ้าเรามีสมมติฐาน เกี่ยวกับกลไกในตลาดหุ้นว่าเป็นแบบนี้
เมื่อใดที่มุมมองของนักลงทุน กับการเปลี่ยนแปลงของราคาหุ้น
มีลักษณะส่งเสริมกันเอง เมื่อนั้นราคาหุ้น จะวิ่งออก
จากปัจจัยพื้นฐานออกไปเรื่อยๆ ทำให้เกิดฟองสบู่
และจะเป็นเช่นนั้นอยู่ จนกว่าพวกมันจะขัดขากันเอง ซึ่งจะทำ
ให้เกิด market correction ขึ้น ตลาดหุ้นจึงมีแนวโน้มที่จะมี
boom และ burst อยู่ร่ำไป แทนที่จะพยายามวิ่งเข้าสู่
จุดสมดุลเองตลอดเวลา เหมือนอย่างที่ทฤษฏีทางการเงินบอกไว้
และกลยุทธ์ของโซรอส ก็คือการพยายามทำกำไรจาก
boom และ burst เหล่านี้
โซรอสบอกว่าพวก neoclassical คิดถูกที่เชื่อว่า
ตลาดเสรีดีที่สุด แต่ผิดตรงที่เชื่อว่า ตลาดเสรีมีเสถียรภาพ
ส่วนพวก keynesians นั้นผิดตรงที่เชื่อว่า การแทรกแซง
โดยรัฐฯ จะช่วยสร้างเสถียรภาพได้ โซรอสเชื่อว่า
นั่นจะยิ่งทำให้สถานการณ์เลวร้ายลง ตลาด unstable อยู่แล้ว
โดยธรรมชาติและไม่มีอะไรที่จะเปลี่ยนมันได้
แนวคิดที่สำคัญมากของ Reflexivity คือ ราคาหุ้น
ส่งอิทธิพลต่อปัจจัยพื้นฐานได้ด้วย ไม่ใช่ปัจจัยพื้นฐาน
ส่งผลต่อราคาหุ้นอย่างเดียว เช่น บริษัทที่ใช้ M&A
เป็นกลยุทธ์ในการเติบโต ถ้าราคาหุ้นของบริษัทสูงลิ่ว
บริษัทย่อมสามารถระดมทุนได้ในราคาต่ำ ทำให้มีเงินต้นทุนต่ำ
มาซื้อกิจการ ซึ่งจะยิ่งทำให้กำไรเติบโตได้ง่ายขึ้น
หรือในช่วงเวลาที่ตลาดอสังหาตกต่ำ ถ้าอยู่ดีๆ
ตลาดหุ้นขึ้นแรง เนื่องจากตลาดเก็งล่วงหน้าว่า
อสังหากำลังจะฟื้น ทั้งที่ยังไม่มีสัญญาณใดๆ เลย
ที่ทำให้เชื่อได้ว่าอสังหากำลังจะฟื้น แต่ถ้าตลาดหุ้นยังขึ้น
ต่อไปเรื่อยๆ ความมั่งคั่งของคนในตลาดย่อมเพิ่มขึ้น
ที่สุดแล้ว ก็จะทำให้มีคนมีสภาพคล่อง มาช้อนซื้ออสังหาราคาถูก
ทำให้ตลาดอสังหาฟื้นได้จริง เป็นต้น
โซรอสเป็นนักเก็งกำไร ประเภท Global Macro
เขาเชื่อว่า การเข้าใจปัจจัยพื้นฐานนั้น เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้
แต่ว่ายังไม่เพียงพอ การมองตลาดแบบ Reflexivity
คือสิ่งที่มาช่วยเติมเต็ม การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน
ในส่วนที่ยังบกพร่องอยู่ เพราะนักลงทุนไม่มีวันเข้าใจ
ปัจจัยพื้นฐานได้ครบถ้วน จึงจำเป็นต้องอาศัยการสังเกต
จากตลาดในส่วนที่เรายังไม่รู้ด้วย แต่เดิมโซรอสอาศัย
ปัจจัยพื้นฐานและ Reflexivity ในการทำกำไรจากหุ้นเป็นรายตัว
แต่ต่อมาเขาก็เริ่มหันมาหากำไรจากการมองทั้งตลาดแทน
เพราะเขามองว่า ตัวเขาเอง มีความสามารถจำกัด
ในการทำความเข้าใจ อุตสาหกรรม หลายอุตสาหกรรมให้ได้
แบบลึกซึ้งอยู่ ในขณะที่เขา สามารถทำความเข้าใจ
กับระบบเศรษฐกิจและการเงินได้ดีมากกว่า และนั่นก็ได้ทำให้
เขาค้นพบแนวทางที่เขามีพรสวรรค์อย่างยิ่งในที่สุด
Mr.Soros and his Reflexivity
นรินทร์ โอฬารกิจอนันต์
ทำไมคนที่รวยจากตลาดหุ้นถึงได้มีจำนวนน้อย
ทำไมคนที่รวยจากตลาดหุ้นถึงได้มีจำนวนน้อย - นรินทร์ โอฬารกิจอนันต์
ด่านที่ 1 : เริ่มต้นลงทุนตอนหุ้นแพงคนส่วนใหญ่มักเริ่มต้นลงทุนในช่วงที่ตลาดหุ้นแพง
เพราะช่วงที่ตลาดหุ้นแพง บรรยากาศมักน่าลงทุน
โดนชวนก็มักสำเร็จ ถ้านับจำนวนคนคนที่เริ่มลงทุน
ในช่วงปี 2542-2545 เทียบกับคนที่เริ่มลงทุนในช่วง
ปี 2546-2550 คนกลุ่มแรกน่าจะมีอยู่น้อยกว่าเป็นอย่างมาก
แค่ด่านแรกนี้ก็ลดโอกาส ที่จะประสบความสำเร็จจากหุ้น
ได้เยอะแล้ว คนที่เริ่มลงทุนหลังปี 46 นั้นล้วนแต่มีตลาดหมี
รอพวกเขาอยู่ในอีกสี่ปีข้างหน้า
ด่านที่ 2 : หลอกให้เล่นเสียวบ่อยๆ จนติดใจ
ช่วงปี 2546-2550 เป็นช่วงที่ตลาดเคลื่อนไหว
ขึ้นๆ ลงๆ ระหว่าง 600-900 จุด นับสิบๆรอบ
พูดง่ายๆ ก็คือ เป็นยุคแห่งการเล่นรอบ ขึ้นขาย-ลงซื้อ
เอากำไรไปเรื่อยๆ แต่เชื่อไหมว่า แค่รอบธรรมดาแบบนี้
ก็มีนักลงทุนจำนวนมากที่หมดตัว ส่วนใหญ่แล้ว
มักจะได้แก่ คนที่ชอบเล่นเสี่ยงๆ เช่น ชอบเล่นตัวเดียวทั้งพอร์ต
ชอบหุ้นปั่น หรือเป็นพวกที่ชอบซื้อเฉลี่ยขาลงแบบไร้ลิมิต
วิธีการเหล่านี้มักให้ผลตอบแทนสูงแต่สุดท้ายแล้วจะเจ๊งในที่สุด
เพราะในสิบครั้งที่ทำจะต้อง “เจอดี” เข้าสักหนึ่งครั้ง
ถ้าดันไปเล่นตัวที่ลงแล้วไม่ฟื้นอีก ด่านนี้ก็ช่วยกำจัดนักลงทุน
ออกไปได้อีกจำนวนหนึ่งตลอดสี่ปีที่ผ่านมา
ด่านที่ 3 : เจอขาลงของจริง
ถ้าคุณรอดมาได้สองด่านแล้ว คุณก็จะมาเจอด่านสุดโหด
ด่านที่สามในปี 2551 เมื่อการเล่นรอบธรรมดากลายเป็นขาลง
ของแท้เฉยเลย ด่านนี้ก็ช่วยให้นักลงทุนที่แม้จะอนุรักษ์นิยม
ในช่วงสี่ปีที่ผ่านมา ก็หมดตัวไปอีกจำนวนหนึ่ง เพราะแม้จะ
กระจายความเสี่ยง แต่เวลาที่ตลาดเป็นขาลงแท้ หุ้นทุกตัว
จะลงหมด ดังนั้นแม้จะกระจายความเสี่ยง แต่ถ้าชอบถือหุ้น
เต็มพอร์ตตลอดเวลา ก็จะไม่รอดในด่านนี้
ด่านที่ 4 : แกล้งให้ทนกับความเบื่อ
ถ้าให้เดาต่อไป ผมคิดว่าด่านที่สี่น่าจะเป็นด่านแห่ง “ความเบื่อ”
กล่าวคือ เมื่อจบขาลงปี 2551 หุ้นจะตกเป็นตัว L ตลาดหุ้น
จะซึมยาวไปหลายปี คล้ายๆกับช่วงปี 2542-2545
ซึ่งนักลงทุน ที่ยังลงทุนอยู่ จะต้องทนกับความน่าเบื่อของราคาหุ้น
ที่ไม่ไปไหนเลย ปีแล้ว ปีเล่า จนนักลงทุนค่อยๆ ถอนใจ
ออกจากตลาดไปทีละคน ดังนั้นแม้จะรอดมาได้ถึงสามด่านแล้ว
แต่ก็มาเลิกเล่นหุ้นเอาด่านที่ 4 ในที่สุดเพราะทนเบื่อไม่ไหว
ทำให้พลาดตลาดกระทิงที่กำลังจะมาถึง
ด่านที่ 5 : แกล้งให้ขายเร็วเกินไป
ใครที่ยังทนเบื่อในด่านที่ 4 ไหวก็ยังต้องมาเจอ
บททดสอบที่ 5 อีกคือ เมื่อตลาดกระทิงมาถึงแล้ว
จะรีบขายเร็วเกินไปหรือไม่ คนที่อยู่ในตลาด
ที่ซึมมาหลายปี ถ้าอยู่ดีๆ หุ้นขึ้นแรง ย่อมต้อง
รีบขายทำกำไรเป็นธรรมดา เพราะหลายปีที่ผ่านมา
ถ้าไม่รีบขาย หุ้นมักจะตกกลับไปที่เดิม ทำให้พลาดกำไร
เลยทำให้ ติดเป็นนิสัย ว่าต้องรีบขายทิ้ง เมื่อกระทิง
ของแท้มา จึงรีบขาย และทำให้พลาดโอกาสเข้าวินไป
อย่างน่าเสียดาย ทั้งที่อุตส่าห์รอดมาได้ตั้งสี่ด่านแล้ว
มาตกม้าตายรอเก้อเอาในด่านที่ 5 นี่เอง
คนที่จะรวยเพราะหุ้นได้ จะต้องผ่านหลุมดักกินคนทั้งห้าหลุม
สุดโหดนี้ไปให้ได้ทั้งหมด นี่จึงเป็นเหตุผลว่า ทำไมคนที่รวย
เพราะตลาดหุ้นถึงได้มีจำนวนน้อยเหลือเกิน
Monday, October 19, 2009
Goldman Sachs ออกบทวิเคราะห์เกี่ยวกับสถานการณ์การเมืองไทยล่าสุด
Thailand: Economic policies still key to recovery,
but near-term political uncertainties deserve close watch
The 81-year-old Thai King, Bhumibol has been in hospital
since September 19. So far, the royal household stated
that the King’s “general condition is good.”1 Given
the general view of the King’s crucial role in
the stability of Thailand’s political environment,
any changes to the current status quo in
the political scene could have implications
on the implementation of government policies.
Therefore, we believe it is important for
investors to focus on the progress of the
economic policies as well.
What to watch:
1) The developments in the health of the King.
Note, however, that a clear succession plan
has been in place, as the government has
already stated that the next monarch will
be Crown Prince Vajiralongkorn.
2) The opposition is scheduled to hold street
protests this coming weekend. The last street
protest by the opposition on September 19
proceeded without any major violence or
disruption to social stability, given the heavy
presence of the police force.
3) The ASEAN and East Asian summit to be
held in Hua Hin next week. We believe
the government will be keen to avoid a repeat
of last April, when protests forced the
abandonment of the Asian summit in Pattaya.
4) The implementation of the fiscal stimulus measures.
5) Progress on the discussion of constitutional amendments.
Back to economic fundamentals. The current
government launched the first fiscal stimulus
program in early-2009, which amounted to 1.3%
of GDP, mainly consisting of near-term stimulus
targeting social welfare spending. A second fiscal
package amounted to around Bt1.4 trillion was
pass in August, which is to be implemented
throughout 2009 to 2012 (see Exhibit 1).
As we highlighted before, the second fiscal
package was more related to the long-term
strategic position of the Thai economy,
and developments in infrastructure, with majority
of the spending on transportation, energy and
tourism infrastructures. Our view has been that
the fragility of the current coalition government
has turned into a motivating factor for the
politicians to push for more fiscal spending
to garner popularity, especially given the
severity of the economic downturn this time
round. Therefore, it is important for investors
to focus on the implementations of these
economic policies, which would be key to support
Thailand’s growth recovery (see ASEAN-4
monetary policy outlook: Protecting the
“hard-won” policy credibility while tightening,
Asia Economics Analyst 09/17, October 5, 2009).
We believe the improvements in the global
industrial cycle should continue to help
support Asia’s exports, which Thailand
will also stand to benefit. We currently
forecast GDP growth to recover from -3.2%
in 2009 to 4.2% in 2010. While we believe
the fiscal stimulus and the external demand
recovery will likely mitigate the downside risks
to growth, we think the private sector
investment cycle will remain subdued,
until the growth recovery is on a firmer
footing in 2H2010.The capacity utilization rate
is currently at around the 57% level, although it
has recovered from around 50% during its trough
in 4Q2008, it is still substantially below the average rate
of 68% before heading into the global economic
downturn in mid-2008. The significant spare capacity
in the manufacturing sector again points to a weak capex
cycle ahead, especially as the recovery in exports remains
slow. Furthermore, Thailand is one of the most vulnerable
to higher oil prices in the region, and the expectation of
oil price increases in the near term is also likely to weigh
on the capex cycle. The Bank of Thailand (BOT) reduced
policy rates by 250 bp between December 2008 and
April 2009 in response to the economic downturn.
We currently expect the BOT to hike rates by 75 bp
starting in late 3Q2010, with the tightening cycle possibly
extending further into 2011. We believe this is to serve
as a pre-emptive signal of potential pipeline inflationary
pressure in 2011, feeding through from commodity price
inflation to core inflation. However, should the negative
political overhang continue to linger, this could weigh
on domestic demand further, and hence postpone
any monetary tightening by the central bank.
ขอขอบคุณ : Goldman Sachs
but near-term political uncertainties deserve close watch
The 81-year-old Thai King, Bhumibol has been in hospital
since September 19. So far, the royal household stated
that the King’s “general condition is good.”1 Given
the general view of the King’s crucial role in
the stability of Thailand’s political environment,
any changes to the current status quo in
the political scene could have implications
on the implementation of government policies.
Therefore, we believe it is important for
investors to focus on the progress of the
economic policies as well.
What to watch:
1) The developments in the health of the King.
Note, however, that a clear succession plan
has been in place, as the government has
already stated that the next monarch will
be Crown Prince Vajiralongkorn.
2) The opposition is scheduled to hold street
protests this coming weekend. The last street
protest by the opposition on September 19
proceeded without any major violence or
disruption to social stability, given the heavy
presence of the police force.
3) The ASEAN and East Asian summit to be
held in Hua Hin next week. We believe
the government will be keen to avoid a repeat
of last April, when protests forced the
abandonment of the Asian summit in Pattaya.
4) The implementation of the fiscal stimulus measures.
5) Progress on the discussion of constitutional amendments.
Back to economic fundamentals. The current
government launched the first fiscal stimulus
program in early-2009, which amounted to 1.3%
of GDP, mainly consisting of near-term stimulus
targeting social welfare spending. A second fiscal
package amounted to around Bt1.4 trillion was
pass in August, which is to be implemented
throughout 2009 to 2012 (see Exhibit 1).
As we highlighted before, the second fiscal
package was more related to the long-term
strategic position of the Thai economy,
and developments in infrastructure, with majority
of the spending on transportation, energy and
tourism infrastructures. Our view has been that
the fragility of the current coalition government
has turned into a motivating factor for the
politicians to push for more fiscal spending
to garner popularity, especially given the
severity of the economic downturn this time
round. Therefore, it is important for investors
to focus on the implementations of these
economic policies, which would be key to support
Thailand’s growth recovery (see ASEAN-4
monetary policy outlook: Protecting the
“hard-won” policy credibility while tightening,
Asia Economics Analyst 09/17, October 5, 2009).
We believe the improvements in the global
industrial cycle should continue to help
support Asia’s exports, which Thailand
will also stand to benefit. We currently
forecast GDP growth to recover from -3.2%
in 2009 to 4.2% in 2010. While we believe
the fiscal stimulus and the external demand
recovery will likely mitigate the downside risks
to growth, we think the private sector
investment cycle will remain subdued,
until the growth recovery is on a firmer
footing in 2H2010.The capacity utilization rate
is currently at around the 57% level, although it
has recovered from around 50% during its trough
in 4Q2008, it is still substantially below the average rate
of 68% before heading into the global economic
downturn in mid-2008. The significant spare capacity
in the manufacturing sector again points to a weak capex
cycle ahead, especially as the recovery in exports remains
slow. Furthermore, Thailand is one of the most vulnerable
to higher oil prices in the region, and the expectation of
oil price increases in the near term is also likely to weigh
on the capex cycle. The Bank of Thailand (BOT) reduced
policy rates by 250 bp between December 2008 and
April 2009 in response to the economic downturn.
We currently expect the BOT to hike rates by 75 bp
starting in late 3Q2010, with the tightening cycle possibly
extending further into 2011. We believe this is to serve
as a pre-emptive signal of potential pipeline inflationary
pressure in 2011, feeding through from commodity price
inflation to core inflation. However, should the negative
political overhang continue to linger, this could weigh
on domestic demand further, and hence postpone
any monetary tightening by the central bank.
ขอขอบคุณ : Goldman Sachs
New high ! จริงหรือหลอกบอกกันอย่างไร ?
วันนี้นำ เคล็ดลับการวิเคราะห์หุ้น ทางเทคนิคเล็กๆน้อย
มาเล่าให้ฟังกัน ซึ่งในวันนี้จะเป็นเรื่องของการดู “ความน่าจะเป็น”
ว่าหุ้นที่ผ่านแนวต้านไปนั้น มี “ความน่าจะเป็น” แค่ใหน ที่มัน
จะวิ่งต่อไป ไกลแค่ใหน และอย่างไร! โดยบทความชิ้นนี้
ผมนำมาแปลสรุปจากบทความของ Tim Ord นักวิเคราะห์หุ้นชื่อดัง
ของอเมริกา ซึ่งแนวคิด การวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิค โดยนำวอลุ่ม
มาพิจรณาประกอบ ณ จุด Breakout นี้เป็นแนวทางการวิเคราะห์
ที่มีรากฐานจาก Richard Wyckoff นักเล่นหุ้นระดับตำนาน
ของ Wallstreet ตั้งแต่ยุคปี 1900 โน่นเลย แต่หลักการที่ดี
ก็คือหลักการที่ดี และยังไม่ล้าสมัยไป เลยนำมาให้อ่านกัน
หลักการวิเคราะห์หุ้น ทางเทคนิคของ Wyckoff นั้น
ถูกพัฒนาขึ้น ตั้งแต่ช่วงปี 1930 และจะมี จุดแข็ง
ที่น่าสนใจ คือการศึกษา ในเรื่องของ Volume
ซึ่งคิดว่า เป็นเรื่องน่าสนใจทีเดียว หากเรามีสมมุติฐาน
ที่ว่า “ราคานั้นวิ่งไปด้วยแรงดันของวอลุ่ม”
ซึ่งในขณะที่ Wyckoff ยังมีชีวิตอยู่นั้น การวิเคราะห์หุ้น
ทางเทคนิคด้วยกราฟ ยังไม่ค่อยแพร่หลายเท่าไหร่
เครื่องมือสำคัญคือ Tape หรือ บันทึกการซื้อขาย
ประจำวันเท่านั้น แต่ด้วยความที่ Tim Ord แกสนใจ
จึงนำมาประยุกต์ใช้ กับการอ่านกราฟ จนกลายเป็น
เทคนิคเหล่านี้ เริ่มกันเลยดีกว่า
ข้อสังเกตุ:
การวิเคราะห์หุ้น ด้วยวอลุ่มด้วยวิธีการแบบ Wyckoff นั้น
การวิเคราะห์หุ้น ด้วยวอลุ่มด้วยวิธีการแบบ Wyckoff นั้น
ตัววอลุ่ม อย่างเดียวนั้น ไม่ไช่สิ่งที่สำคัญนัก หากแต่เป็น
สัดส่วนความสำพันธ์ หรือ Percentage relationship
ของวอลุ่ม ที่เพิ่มขึ้น หรือลดลง ขณะหุ้นได้เคลื่อนผ่าน
แนวรับ-แนวต้านสำคัญ และความสำพันธ์ ระหว่าง
สัดส่วนของวอลุ่มที่เพิ่มขึ้น หรือลดลง นี่เองที่เป็นสิ่ง
ที่จะบอก “ความน่าจะเป็น” ที่ตลาด จะเคลื่อนที่
ไปยังทิศทางใดต่อไป
กฎการวิเคราะห์หุ้น ทางเทคนิคของ Tim Ord
ด้วยแนวทางของ Richard D. Wyckoff
1.เมื่อหุ้นได้วิ่งไปทดสอบ แนวรับ-แนวต้านเดิม
โดยที่วอลุ่มนั้น ลดลงตั้งแต่ประมาณ 8% ลงไป
นั้นสามารถตีความหมายได้ว่า นี่คือจุดวกกลับ
หรือ Reversal ของราคา โดยที่การทดสอบ
แนวรับแนวต้านนี้หมายถึง การที่หุ้นได้เคลื่อนที่
ผ่าน แนวรับ หรือแนวต้าน แล้ววกกลับลงมา
ในขอบเขตเดิม
2.เมื่อหุ้นวิ่งไปทดสอบ แนวรับ-แนวต้านเดิมโดยที่วอลุ่มนั้น
ลดลงไม่เกิน 3% นั้นมีความ “น่าจะเป็น” ที่หุ้นจะพักตัวแล้วไปต่อ
3.ให้เลือกใช้การเปรียบเทียบ สัดส่วนปริมาณของวอลุ่ม
ในการทดสอบแนวรับ-แนวต้านเดิมกับ แนวรับ-แนวต้านเดิม
ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก ถึงแม้ว่าหุ้น จะเคยทดสอบแนวต้าน
ที่เกิดเป็นครั้งแรกมาหลายครั้งแล้ว (นั่นคือแนวรับ-แนวต้าน
ที่สำคัญคือ แนวที่เกิดขึ้น เป็นครั้งแรก และหุ้นยังไม่สามารถ
วิ่งผ่านไปได้อย่างชัดเจน)
4.เมื่อหุ้นสามารถเคลื่อนผ่านแนวรับ-แนวต้านเดิมไปได้
ด้วยวอลุ่มที่ไกล้เคียง หรือมากกว่าครั้งเก่า แต่ราคาวกกลับมา
ที่ขอบเขตเดิมมี “ความน่าจะเป็น” ที่แนวรับ-แนวต้านเดิม
ปล. การที่เราจะบอกได้ว่า แนวรับ-แนวต้านเดิม
จะถูกทดสอบอีกครั้งหรือไม่นั้นความลับอยู่ที่วอลุ่ม
-ถ้าสัดส่วนของวอลุ่มเมื่อหุ้นได้ทดสอบแนวรับ-แนวต้านเดิมนั้น
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 8% ราคาน่าจะถึงจุดวกกลับ
-ถ้าสัดส่วนของวอลุ่มเมื่อหุ้นได้ทดสอบแนวรับ-แนวต้านเดิมนั้น
น้อยกว่าเดิมไม่เกิน 3% ราคาน่าจะวิ่งต่อไป
5.เมื่อหุ้น สามารถวิ่งผ่านแนวรับ-แนวต้านเดิมไปได้
ด้วยสัดส่วนของวอลุ่ม ที่เบาบางลงกว่าเดิม เท่ากับ
หรือมากกว่า 8% อาจตีความได้ว่าน่าจะเกิด False Breakout
หรือการหลอก ซึ่งมีความเป็นไปได้ ที่ราคาหุ้นจะเคลื่อน
กลับลงมา ณ ขอบเขตเดิม
6.เมื่อราคาหุ้นกระโดดขึ้น หรือลง ที่เราเรียกว่าเปิด “Gap”
จุดต่ำสุด และจุดสูงสุดของช่องว่างระหว่าง Gap ถือเป็นแนวรับ
และแนวต้าน ได้เช่นเดียวกับแนวรับ-แนวต้าน ที่เกิดขึ้น
จากการที่หุ้นเคลื่อนที่ วกกลับไปจริงๆ และสามารถใช้หลักการ
วิเคราะห์สัดส่วนของวอลุ่มการซื้อขายได้เช่นกัน
นี่คือ หลักการวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคที่ Tim Ord นั้น
นำมาพัฒนาต่อจาก Richard D. Wyckoff
หากอยากทราบรายละเอียด แบบเจาะลึกเพิ่มเติม
แนะนำให้ลองหาหนังสือหุ้น The Secret Science
of Price and Volume เขียนโดย Tim Ord เพิ่มเติม
ลองนำไป ประยุกต์ใช้ และสังเกตุ เพิ่มเติม
กับตลาดบ้านเรากันดู สำหรับวันนี้จบแล้ว
ขอขอบคุณ : http://www.mangmaoclub.com/
แนะนำหนังสือหุ้น : Trading in the zone สุดยอดหนังสือจิตวิทยาการเล่นหุ้น!
Trading in the zone ของ Mark Douglas
หนังสือหุ้นเล่มนี้นั้น ได้รับการวิจารณ์อย่างกว้างขวาง
ว่าเป็น 1 ใน 10 หนังสือหุ้น ที่นักเล่นหุ้นทุกคน ควรมี
ไว้บนหิ้ง (แต่มีแล้วต้องอ่านนะ ไม่ไช่เอาไปวางบนหิ้งเฉยๆ หุหุ)
ซึ่งโดยส่วนตัวแล้ว ก็เห็นควรเป็นอย่างยิ่ง ด้วยว่า
นี่แหละ คือสุดยอดหนังสือหุ้น ทางจิตวิทยา ที่หากใครไม่ได้อ่าน
อาจจะกำลังพลาดของดี ที่จะทำให้คุณจะต้องเสียใจภายหลัง
เมื่อคุณใด้ลองเปิดใจ อ่านหนังสือหุ้นเล่มนี้สักครั้ง
หนังสือหุ้นเล่มนี้ มีความโดดเด่นในแง่มุม
ทางจิตวิทยาของการเล่นหุ้น โดย Mark Douglas
ผู้เขียนพยายามจะบอกกับเราว่า “การเล่นหุ้น
ให้ได้กำไรนั้นง่ายมาก แต่จะให้มีความสม่ำเสมอนั้น
น้อยคนนักที่จะทำได้” และตัวแปรที่สำคัญที่สุด
ในการก้าวข้ามกำแพงกั้นระหว่าง แมงเม่ากับเซียนหุ้นนั้น
ไม่ได้อยู่กับการที่ว่าเรารู้จักตลาดดีแค่ใหน
แต่อยู่ที่การ ที่เรามีทัศคติ ในการเล่นหุ้นอย่างไร
เรามองตลาดอย่างไร และเราแปลผลจากข้อมูล
ที่ตลาดแสดงออกมาอย่างไร
Trading in the zone คำว่า Zone นั้น
อาจจะแปลความหมาย ตามสไตล์แบบไทยๆ ว่า
มันคือ “ช่วงเวลา ที่เราสามารถจะเล่นหุ้นได้
โดยไม่มีความวิตกกังวล สับสน หรือมีความขัดแย้ง
ใดๆภายในตัวเรา” นั่นคือช่วงเวลาที่เป็นสมาธิที่สุด
ถ้าพูดในเชิงปรัชญา ก็คือช่วงเวลาที่จิตเราว่าง
กระจ่างใสนั่นเอง ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้ ไม่สามารถ
ที่จะเกิดขึ้นได้ โดยความรู้ในการวิเคราะห์หุ้น
หรือการที่เรา มีวิธีการเล่นหุ้นที่ยอดเยี่ยมแต่อย่างไร
หากแต่ ช่วงเวลาหรือ “ Zone” จะสามารถเกิดขึ้นได้
เมื่อเรามี ทัศนคติ และมุมมองที่ถูกต้องในการเล่นหุ้นเท่านั้น
Mark Douglas กำลังจะบอกกับเราว่า
“ทัศนคติและมุมมอง” ต่างหาก ที่เป็นเส้นแบ่ง
ระหว่าง แมงเม่าและเซียนหุ้น ระหว่างความล่มจม
และความร่ำรวยในตลาดหุ้น ทัศนคติและมุมมอง
ที่ถูกต้อง จะนำพาเราไปสู่ความสำเร็จ ในการเล่นหุ้น
เมื่อเรามีความคิดที่ถูกต้องแล้ว เราจะสามารถ
มองตลาดด้วยความเป็นจริง โดยไม่มีการเจือปน
ด้วยอารมณ์ความโลภ และความกลัวของเรา
ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นเหมือน Software Code
หรือกลไก ที่ทำให้เราเล่นหุ้นได้ดีอย่างสม่ำเสมอ
และทำกำไรได้ในระยะยาวซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุด
หลังจากที่ได้อ่านหนังสือหุ้นเล่มนี้จบ คุณจะยังมีคำถาม
ภายในใจของคุณขึ้นอีกมากมาย ซึ่งนั่นต้องอาศัย
เวลาในการปรับเปลี่ยนความคิด และมุมมองของเราใหม่
แต่เมื่อเวลาผ่านไป เชื่อว่าสิ่งดีๆในหนังสือหุ้น
Trading in the zone เล่มนี้ จะทำให้เราเล่นหุ้น
ได้อย่างมี “ปัญญา” และความสุขมากขึ้น
ขอขอบคุณ : http://www.mangmaoclub.com/
Friday, October 16, 2009
กลเกมส์ฝรั่ง การหลอกลวงระดับโลก
ในตลาดทุนนิยม ผมเชื่อว่า ถ้าเราทำใจ
อย่างเป็นกลางแล้ว เราจะเห็นทั้งด้านที่ดี
และด้านที่ลบอยุ่พร้อมๆกันเสมอ ขึ้นอยุ่ว่า
โลกนั้นจะต้องการหยิบ Event ตัวไหน
มา Drive แค่นั้นเอง (เลยเป็นที่มาของพวกเฮดจ์ฟัน
จำพวก Event Driven ประเภทหนึ่งในหลายๆประเภท)
ตอนนี้มาดูกันว่า กลเกมส์ฝรั่งเป็นยังไง
จินตนาการ ถึงเกมส์ระดับน้ำนะครับ
ผู้เล่นในประเทศ หมุนเวียนเงินกัน อยุ่ในระบบ
กันอย่างเสมอ ไม่ค่อยมีกลยุทธ์ ที่ออกนอกตลาด
ไปนานๆ เช่น 6 เดือน หรือ 1ปี หลังจากได้กำไรแล้ว
ทำให้เกิดเม็ดเงินหมุนเวียนแบบนี้ประจำ
**หมายเหตุ ไม่ได้มีเจตนา ทำลายบรรยากาศ
การลงทุนนะครับ แค่อยากให้เพื่อนๆ ลงทุนกันอย่างมีสติ
ไม่ประมาท หากได้กำไร ในระดับที่พอใจ แล้วก็พยาม
ควบคุมตัวเอง ไม่ให้ความโลภ เข้าครอบงำจนตกเป็นเหยื่อนะครับ
เพราะเราไม่รุ้ว่า ระดับน้ำ ที่เค้าอยากให้ถึง มันระดับไหน
และเวลา น้ำโดนสูบออกไปเนี่ย มันรั่วออกไปเร็วมาก
** Don’t fall into the enemy game, play according to our plan :)
ขอขอบคุณ : MudleyGroup
Monday, October 5, 2009
'สมองซีกซ้าย' อาวุธสำคัญที่สุดในการเทรดหุ้น
'สมองซีกซ้าย' อาวุธสำคัญที่สุดในการ Trading
ได้มีการ เก็บสถิติว่า นักลงทุน ที่เข้ามาซื้อขาย
ในตลาดหุ้น หรือ Futures ส่วนใหญ่ หรือประมาณ
80% มีประสบการณ์การขาดทุน มีเพียงแค่ประมาณ
20% ที่ประสบความสำเร็จ และการประสบความสำเร็จ
มักจะอยู่ได้ไม่นาน
ในต่างประเทศ นักวิจัย ได้ทำการสำรวจว่า ปัจจัยที่
สำคัญที่สุดในการ Trading หุ้น หรือทำการซื้อขายหุ้น
ให้ประสบความสำเร็จนั้น แท้จริงแล้ว ไม่ได้ขึ้นอยู่
กับเครื่องมือที่ดีเยี่ยมในการวิเคราะห์ ทั้งปัจจัยเทคนิค
และปัจจัยพื้นฐานเท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจ
และการควบคุมอารมณ์ในการซื้อขาย
กล่าวโดยสรุปคือ นักลงทุนที่สามารถทำกำไร
จากตลาดหุ้น นอกจากจะมีระบบ ทั้งในแง่ของ
ปัจจัยทางเทคนิค ปัจจัยทางพื้นฐาน ในการคิด
เลือกหุ้นแล้ว นักลงทุนท่านนั้นยังต้องมีจิตใจ
และระบบความคิดที่เป็นระบบ
ระบบความคิดที่เป็นระบบในการ Trading นี้
ที่ต่างประเทศมีคอร์สอบรมคอร์สหนึ่งเลย
ชื่อว่า "Left Brain Trading" หรือ
ใช้สมองซีกซ้ายในการตัดสินใจซื้อขาย
สมองของคนเราจะประกอบด้วยสมอง 2 ซีก
คือ สมองซีกซ้าย และสมองซีกขวา สมองซีกขวา
จะเป็นส่วนที่สร้างจินตนาการ หรือเกี่ยวกับอารมณ์
การมองภาพรวม และอาศัย สัญชาตญาณ
หรือประสบการณ์ในการตัดสินความรู้สึก
แต่สมองซีกซ้าย เป็นเรื่องเกี่ยวกับการคิดเชิงระบบ
และอาศัยสมองซีกขวา แต่กระบวนการซื้อขาย
และการตัดสินใจในการซื้อหรือขายของสมองซีกซ้าย
การวิเคราะห์ การคิดตามลำดับก่อนหลัง (Sequential History)
เป็นมูลเหตุในการตัดสินใจ
ในการ Trading หรือซื้อขายหุ้นนั้น ทักษะทางด้าน
จินตนาการ หรือ Gut Feeling เป็นตัวคัดเลือกหุ้น
และคาดการณ์การเคลื่อนไหวของหุ้น (Pattern)
ซึ่งเป็นหน้าที่ของสมองซีกขวา ในขณะที่สมองซีกซ้าย
จะช่วยเราในการเลือกจุดเข้า (Entry) และจุดออก (Exit)
ซึ่งคอร์สอบรมของ Left Brain Trading ได้กล่าวถึง
กลยุทธ์ ผมขออนุญาตสรุปคร่าวๆ ได้คือ
1) การมองภาพใหญ่ อาจจะเป็นกราฟ หรือ Pattern
ของราคาหุ้น ในรอบเดือนหรือปี และรวมถึงภาพ
ของตลาดโดยรวม เพราะหุ้นรายตัวที่เรากำลังทำการ
Trading หรือซื้อขายนั้น จะเป็นไป ในลักษณะ
Pattern ซ้อน Pattern อยู่
2) ค้นหาสัญญาณ Indicator หรือ Pattern ที่กำลังส่งผล
ในขณะนั้น สัญญาณบางอย่างที่นักวิเคราะห์ทางเทคนิค
ใช้กันอยู่อย่างสม่ำเสมอ คือ Fibonacci Ratio
ซึ่งจะต้องดูประกอบกับ Volume ด้วย ยิ่ง Volume มากเท่าใด
การแกว่งตัวของ Fibonacci ยิ่งมากเท่านั้น
บทความ นสพ.กรุงเทพธุรกิจ Bizweek
ได้มีการ เก็บสถิติว่า นักลงทุน ที่เข้ามาซื้อขาย
ในตลาดหุ้น หรือ Futures ส่วนใหญ่ หรือประมาณ
80% มีประสบการณ์การขาดทุน มีเพียงแค่ประมาณ
20% ที่ประสบความสำเร็จ และการประสบความสำเร็จ
มักจะอยู่ได้ไม่นาน
ในต่างประเทศ นักวิจัย ได้ทำการสำรวจว่า ปัจจัยที่
สำคัญที่สุดในการ Trading หุ้น หรือทำการซื้อขายหุ้น
ให้ประสบความสำเร็จนั้น แท้จริงแล้ว ไม่ได้ขึ้นอยู่
กับเครื่องมือที่ดีเยี่ยมในการวิเคราะห์ ทั้งปัจจัยเทคนิค
และปัจจัยพื้นฐานเท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจ
และการควบคุมอารมณ์ในการซื้อขาย
กล่าวโดยสรุปคือ นักลงทุนที่สามารถทำกำไร
จากตลาดหุ้น นอกจากจะมีระบบ ทั้งในแง่ของ
ปัจจัยทางเทคนิค ปัจจัยทางพื้นฐาน ในการคิด
เลือกหุ้นแล้ว นักลงทุนท่านนั้นยังต้องมีจิตใจ
และระบบความคิดที่เป็นระบบ
ระบบความคิดที่เป็นระบบในการ Trading นี้
ที่ต่างประเทศมีคอร์สอบรมคอร์สหนึ่งเลย
ชื่อว่า "Left Brain Trading" หรือ
ใช้สมองซีกซ้ายในการตัดสินใจซื้อขาย
สมองของคนเราจะประกอบด้วยสมอง 2 ซีก
คือ สมองซีกซ้าย และสมองซีกขวา สมองซีกขวา
จะเป็นส่วนที่สร้างจินตนาการ หรือเกี่ยวกับอารมณ์
การมองภาพรวม และอาศัย สัญชาตญาณ
หรือประสบการณ์ในการตัดสินความรู้สึก
แต่สมองซีกซ้าย เป็นเรื่องเกี่ยวกับการคิดเชิงระบบ
และอาศัยสมองซีกขวา แต่กระบวนการซื้อขาย
และการตัดสินใจในการซื้อหรือขายของสมองซีกซ้าย
การวิเคราะห์ การคิดตามลำดับก่อนหลัง (Sequential History)
เป็นมูลเหตุในการตัดสินใจ
ในการ Trading หรือซื้อขายหุ้นนั้น ทักษะทางด้าน
จินตนาการ หรือ Gut Feeling เป็นตัวคัดเลือกหุ้น
และคาดการณ์การเคลื่อนไหวของหุ้น (Pattern)
ซึ่งเป็นหน้าที่ของสมองซีกขวา ในขณะที่สมองซีกซ้าย
จะช่วยเราในการเลือกจุดเข้า (Entry) และจุดออก (Exit)
ซึ่งคอร์สอบรมของ Left Brain Trading ได้กล่าวถึง
กลยุทธ์ ผมขออนุญาตสรุปคร่าวๆ ได้คือ
1) การมองภาพใหญ่ อาจจะเป็นกราฟ หรือ Pattern
ของราคาหุ้น ในรอบเดือนหรือปี และรวมถึงภาพ
ของตลาดโดยรวม เพราะหุ้นรายตัวที่เรากำลังทำการ
Trading หรือซื้อขายนั้น จะเป็นไป ในลักษณะ
Pattern ซ้อน Pattern อยู่
2) ค้นหาสัญญาณ Indicator หรือ Pattern ที่กำลังส่งผล
ในขณะนั้น สัญญาณบางอย่างที่นักวิเคราะห์ทางเทคนิค
ใช้กันอยู่อย่างสม่ำเสมอ คือ Fibonacci Ratio
ซึ่งจะต้องดูประกอบกับ Volume ด้วย ยิ่ง Volume มากเท่าใด
การแกว่งตัวของ Fibonacci ยิ่งมากเท่านั้น
บทความ นสพ.กรุงเทพธุรกิจ Bizweek
Subscribe to:
Posts (Atom)
Custom Search